วันพฤหัสบดีที่ 12 พฤษภาคม พ.ศ. 2559

Autocad 2011 การกําหนดรูปแบบของเสนบอกขนาด( Dimension Style)

การกําหนดรูปแบบของเสนบอกขนาด( Dimension Style)

สําหรับกําหนดรูปแบบของเสนบอกขนาดตามที่โปรแกรมกําหนดมาให หรือเขาไปปรับปรุงให

เหมาะสมกับรูปแบบตามความตองการของผูใชงาน สามารถเรียกใชคําสั่งนี้ไดจาก

สวนประกอบหลักบนหนาตาง Dimension Style Manager
Current Style: เปนรูปแบบของเสนบอกขนาดที่ถูกใชงานอยู คือ Standard
Style: เปนรูปแบบของเสนบอกขนาดที่โปรแกรมสรางไวให
List: ใชเรียกดูรูปแบบของเสนบอกขนาดที่มีอยู
•  All style ใชเรียกดูรูปแบบของเสนบอกขนาดที่มีอยูทั้งหมด
•  Style in use ใชเรียกดูรูปแบบเสนบอกขนาดที่ถูกใชงานอยู
Preview of: แสดงภาพรวมของเสนบอกขนาดทั้งหมด ขึ้นอยูกับ Style ที่เลือก
Description: แสดงรูปแบบเสนบอกขนาดที่เลือกไวในกรอบ Style
Set Current: เปนปุมที่กําหนดใหรูปแบบของเสนบอกขนาดที่ตองการใชงาน
New: เปนปุมสําหรับสรางรูปแบบเสนบอกขนาดขึ้นมาใหม
Modify: เปนปุมสําหรับเขาไปแกไขปรับปรุงรูปแบบเสนบอกขนาดที่มีอยู
Override: เปนปุมสําหรับเขาไปแกไขรูปแบบเสนบอกขนาดที่มีอยูโดยไมบันทึกคาตางๆไว
Compare: ใชสําหรับเปรียบเทียบลักษณะที่ตางกันของรูปแบบเสนบอกขนาด
เมื่อคลิกที่ปุม New… เพื่อสรางรูปแบบของเสนกําหนดขนาดใหม จะปรากฏหนาตางของ
Create New Dimension Style ขึ้นมามีสวนตางๆดังนี



New Style Name: กําหนดชื่อรูปแบบของเสนบอกขนาดใหมตามตองการ
Start With: เปนการคัดลอกรูปแบบของเสนบอกขนาดที่ตองการ เพื่อนําไปแกไข
Annotative: สําหรับปรับรูปแบบของเสนบอกขนาดตามอัตราสวนใหอัตโนมัต


User for: เลือกชนิดของเสนบอกขนาดที่คุณตองการ หรือเลือกทั้งหมด
เมื่อกําหนดทุกอยางครบถวนแลวใหคลิกปุม OK
จะปรากฏหนาตาง Modify Dimension Style: ขึ้นมา โดยมีรายละเอียดดังนี้
Line Tab: สําหรับกําหนดรายละเอียดตางๆที่เกี่ยวของกับเสนบอกขนาดทั้งหมด โดยแบงเปนกรอบ
ตางๆดังนี้
Dimension Line: สําหรับกําหนดสี ความหนา ความยาวตางๆของเสน Dimension Line
Extension Line: สําหรับกําหนดสี ความหนา ความยาวตางๆ รวมถึงระยะหางระหวาง Extension
Line กับ เสนชิ้นงาน


Symbols and Arrows: ใชกําหนดแบบของหัวลูกศรและสัญลักษณอื่นๆที่เกี่ยวของ
Arrowheads: ใชกําหนดแบบและขนาดของหัวลูกศร
Center marks: ใชกําหนดรูปแบบและขนาดตางๆของจุดศูนยกลางของวงกลม
Dimension Break: ใชกําหนดระยะหางของการ Break เสนบอกขนาด
Arc Length symbol: ใชกําหนดตําแหนงของสัญลักษณของความยาวสวนโคง
Radius jog dimension: ใชกําหนดลักษณะของเสนบอกรัศมีแบบหยัก
Linear jog dimension: ใชกําหนดความสูงของเสนหยัก


Text Tab: สําหรับกําหนดความสูง รวมถึงตําแหนง ของตัวอักษรที่ใชบอกขนาด
Text appearance: สําหรับกําหนด สี ความสูง ตัวอักษรที่ใชบอกขนาด
Text placement: สําหรับจัดวางตําแหนงของตัวอักษรกับเสน Dimension Line
Text alignment: สําหรับกําหนดการจัดวางตัวอักษร ในแนวตางๆ


Fit Tab: สําหรับเลือกจัดวางตัวเลขบอกขนาด ในกรณีพื้นที่การวางตัวเลขบอกขนาดไมพอ โดย
สามารถคลิกเลือกดูในแตละสวน พรอมทั้งใหสังเกตการเปลี่ยนแปลงของแตละสวนที่เลือกจากรูปที่อยู
ทางดานขวามือ


Primary Units Tab: ใชกําหนดหนวยที่บอกถึงความละเอียดสําหรับการใชงานในดานตางๆ เพื่อความ
เหมาะสม  
Linear dimension: ใชกําหนดหนวย ความละเอียดในการวัดขนาด ที่รวมถึงการปดเศษ และการเพิ่ม
ขอความดานหนาหรือตอทายตัวเลขบอกขนาดดวย 
Measurement scale: สําหรับกําหนดอัตราสวนใหเหมาะสมกับเสนบอกขนาด 
Zero suppression: สําหรับปรับเศษของทศนิยมที่มีมากกวา หนึ่งตําแหนงถาคาที่วัดไดออกเปน
จํานวนเต็ม เชน 80.000 จะปรับคาเปน 80.0 แทน 
Angular dimension: ใชกําหนดหนวยวัดและความละเอียดใหกับการบอกขนาดมุม


Alternate Units Tab: ใชกําหนดหนวยการบอกขนาดแบบพิเศษ เชน ถาตองการบอกขนาดที่มีทั้ง
มิลลิเมตร และนิ้ว ควบคูกัน ซึ่งหนวยแรกที่วัดไดจะแสดงเหมือนเดิมปกติ สวนหนวยที่ 2 จะแสดงคาที่
วัดไดอยูในวงเล็บ ถาตองการกําหนดหนวยแบบนี้ใหคลิกเช็คที่หนา Display Alternate Units ไดและ
สามารถเลือกหนวยหลักและรองไดตามตองการ


Tolerances Tab: ใชกําหนดคาความคลาดเคลื่อนที่ยอมไดหรือพิกัดความเผื่อ ซึ่งมีหลายรูปแบบให
เลือกใชงาน

คู่มือ autocad 2012 ภาษาไทย

คู่มือ autocad 2012 ภาษาไทย


ตามลิ้งเลยครับผม....

http://www.docs-engine.com/pdf/1/%E0%B8%84%E0%B8%B9%E0%B9%88%E0%B8%A1%E0%B8%B7%E0%B8%AD-autocad-2012-%E0%B8%A0%E0%B8%B2%E0%B8%A9%E0%B8%B2%E0%B9%84%E0%B8%97%E0%B8%A2.html

Quick Access Toolbar and Navigation (autocad 2011)

บนเครื่องมือ Quick Access Toolbar จะแสดงชื่อของ Workspace ที่ถูกกําหนดใหใชงาน ทํา
ใหคุณเลือกใชงาน Workspace และเครื่องมืออื่นๆ ของ Workspace ไดอยางงายดาย โดยมีการเพิ่ม
เครื่องมือ Save และ Save As ลงไปบน Quick Access Toolbar ดวย

Quick Access Toolbar


Navigation

ใน AutoCAD 2011 ไดเพิ่มแถบ Navigation รูปแบบใหม โดยเพิ่มเครื่องมือตางๆ เขาไปดวย
เชน Autodesk Steering Wheels, View Cube และ Show Motion ซึ่งมีคําสั่ง Well, Zoom, Pan และ
Orbit ที่สามารถควบคุมการแสดงผลของ Navigation ผานหนาตาง CUI ในสวนของ Property อีกดวย

โดยแถบ Navigation นี้รองรับในสวนของ 3D Connexion Device เมื่อระบบ 3D Connexion
ถูกเรียกใชงาน


ในสวนของ View Cube เปดใหรองรับการใชงานในโหมดของ 2D Wireframe Visual Style ทํา
ใหคุณสามารถเปลี่ยนมุมมองไดงายขึ้น โดยสามารถควบคุมการหมุนแบบทวนเข็มหรือตามเข็มนาฬิกา
ไดตามตองการ




User Interface (autocad 2011)

ใน AutoCAD 2011 ไดมีการปรับเปลี่ยนในสวนหนาตาของโปรแกรมการใชงาน เพื่อใหงาน
ออกแบบของคุณงายและคลองตัวมากยิ่งขึ้น

Drawing Windows



สําหรับพื้นที่การเขียนแบบของ AutoCAD 2011 หรือ Drawing Windows ไดเปลี่ยนสีพื้นหลัง
ของ Model Space ใหเปนสี Dark Gray โดยคุณสามารถเขาถึงการปรับแตงสีของ Drawing
Windows ไดอยางงายดายผานแท็ป Display ของหนาตาง Options
บนหนาจอ Drawing Windows จะแสดงผลของ Gridlines เปนเสนตรงในแนวตั้งและแนว
นอนเปนตารางที่ไมมีจุดสิ้นสุด เมื่อมีการเปดโหมดของกริด (Grid) คุณจะเห็นเสนสีแดงและสีเขียวที่
ตอจากไอคอนของ UCS บนแกน X และ Y ของจุด Origin ของโปรแกรม





วันพุธที่ 4 กันยายน พ.ศ. 2556

การกำหนดขอบเขตการปริ้นใน CAD

การใช้งาน AutoCAD เพื่อกำหนดขอบเขตในการ Print อย่างง่าย โดยไม่ต้องไปกำหนด Layout ดังนี้


 1. เปิดไฟล์งานขึ้นมาก่อน  ในกรณีนี้ไฟล์ตัวอย่างมี แบบตึกอยู่หลายภาพอยู่ในไฟล์เดียวกัน ทำให้เวลา Print ออกมาแล้วไม่สามารถเลือกตรงส่วนที่ต้องการได้



2.กดที่ปุ่มด้านซ้ายบนรูปตัว A เลือกคำสั่ง Prin
3. หน้าต่าง Plot-Model มีส่วนประกอบตามภาพ


 4. หน้าต่างแบบเต็ม  กดที่ ปุ่ม "Window < " เพื่อเข้าสู่การกำหนดขอบเขตในการพิมพ์

 5. คลิ๊กแล้วลากเม้าส์เพื่อตีกรอบสำหรับเป็นขอบเขตในการพิมพ์

6. เมื่อกลับมาหน้าต่างเดิม จะเห็นในช่อง Preview ว่ามีขีดแดงทั้งสี่ด้าน แสดงว่าขนาดภาพที่เรากำหนดไว้เกินกว่าขนาดของกระดาษ  จะต้องลดขนาดภาพลง

7.  ลองกดปุ่ม Preview ดู โปรแกรมจะโชว์ภาพตัวอย่าง    (กด Esc เพื่อออกจากหน้านี้)

8. ที่ช่อง Plot scale  ให้ติ๊กตรงช่อง Fit to paper  โปรแกรมจะทำการขยายภาพจนเต็มกระดาษโดยอัตโนมัติ (ถ้าเอาไว้ดูเฉยๆก็ควรติ๊กไว้ จะได้ใช้กระดาษคุ้มหน่อย)


9. จะเห็นในช่อง Preveiw ว่าไม่มีขีดแดงแล้ว แสดงว่าไม่ล้นขอบกระดาษ   ลองตั้งค่าดูจะพิมพ์ในแนวนอนหรือแนวตั้ง  โดยเลือกที่ช่อง Drawing Orentation

10. ลองกด Preview ดูอีกรอบ จะเห็นว่าภาพที่กำหนดขอบเขตไว้อยู่ในกระดาษตามที่ตั้งค่าไว้แล้ว   ถ้าพอใจแล้วก็คลิ๊กขวาที่หน้านี้แล้วสั่ง Plot เพื่อให้เครื่อง Printer พิมพ์ออกมา


11.  เพิ่มเติม  เราสามารถกำหนดรูปแบบการพิมพ์ได้ ว่าจะเอาแบบสีหรือขาวดำ ดังภาพ

12. ถ้ากดปุ่มข้างๆจะขึ้นหน้าต่างนี้  กรณีนี้เราเลือกว่าเป็น Monochrome ก่อนแล้ว ซึ่งเป็นการพิมพ์แบบขาวดำให้เลือกในช่อง Plot styles ทุกสี

13. แล้วกำหนดที่ Lineweight ให้เป็น 0.000 mm  จะได้เส้นที่บางที่สุด


ขอขอบคุณข้อมูลจาก http://gonosis.exteen.com/20100621/print-cad

วันจันทร์ที่ 2 กันยายน พ.ศ. 2556

แจกคู่มือ Autocad 2011 ภาษาไทยระดับเบื้องต้น

คู่มือ Autocad 2011 ภาษาไทยระดับเบื้องต้น






วิธี download 
  1. คลิก! ลิงค์ด้านล่าง  
  2. รอเวลามุมขวาบนหมด  
  3. คลิกที่ SKIP AD มุมขวาบน
  4. ในบางไฟล์ อาจจะต้อง พิมพ์ตัวอักษร ตามรูปก่อน download






วันพุธที่ 14 สิงหาคม พ.ศ. 2556

การเขียนภาพไอโซเมตริก



     ภาพไอโซเมตริก ( Isometric ) คือภาพที่แสดงมุมเอียง 2 ด้าน โดยนิยมนั้นมักกำหนดเป็นมุม 30 องศาโดยที่เส้นที่เป็นองค์ประกอบของรูปทรงในแต่ละด้าน จะขนานกันไม่บรรจบกัน ทั้งนี้เพื่อลดความผิดเพี้ยนของขนาดและรูปร่างที่อาจเกิดขึ้นได้หากใช้การแสดงภาพแบบเหมือนจริงในรูปของเปอร์สเปคทีฟ ( Perspective )

    ก่อนที่เราจะทำการเขียนภาพแบบ Isometric เพื่อความสะดวกในการเขียนแบบเราต้องทำการกำหนดค่า 2 ค่าก่อน คือ
1.Isometric Snap        ใช้สำหรับการลากเส้นหรือเคลื่นย้ายเส้นในลักษณะไอโซเมตริก
2.Increment Angle      ช่วยให้เราสามารถลาดเส้นเป็นมุมอื่นได้นอกจาก 90 องศา

หลักการสร้างโมเดล
เริ่มจากฐานของวัตถุ แล้วไล่ไปด้านบน โดยมีขี้นตอนดังนี้









สำหรับภาพไอโซเมตริกมักใช้ในงานเขียนแบบเชิงเทคนิค เพราะว่าทำให้เข้าใจแบบได้ง่าย และให้รายละเอียดได้มากกว่าการแสดงภาพแบบหน้าตรง หรือรูปด้าน และอีกอย่างก็คือ ภาพไอโซเมตริกนั้นสร้างง่ายกว่าภาพเปอร์สเปคทีฟ.....